http://blog.eduzones.com/jipatar/85921
ได้รวบรวมและกล่าวถึงการให้คำนิยามเชิงปฏิบัติที่จะใช้ในการวิจัย
ไว้ว่า ในการวิจัย อาจมี ตัวแปร (variables) หรือคำ (terms) ศัพท์เฉพาะต่าง ๆ
ที่จำเป็นต้องให้คำจำกัดความอย่างชัดเจน ในรูปที่สามารถสังเกต (observation) หรือวัด (measurement) ได้ ไม่เช่นนั้นแล้ว
อาจมีการแปลความหมายไปได้หลายทาง ตัวอย่างเช่น คำว่า คุณภาพชีวิต, ตัวแปรที่เกี่ยวกับความรู้
ทัศนคติ , ความพึงพอใจ, ความปวด เป็นต้น
http://www.nurse.ubu.ac.th/sub/knowledgedetail/Actionresearch.pdf
ได้รวบรวมและกล่าวถึงการให้คำนิยามเชิงปฏิบัติที่จะใช้ในการวิจัย
ไว้ว่า การวิจัยเชิงปฏิบัติการ หมายถึง
การแสวงหาความรู้ภายใต้การดำเนินการของ นักปฏิบัติที่กลายมาเป็น
นักวิจัย
หรือผู้ซึ่งทำงานเป็นหุ้น ส่วนกับนักวิจัย
เพื่อตรวจสอบประเด็นและปัญหาในสถานที่ทำงานของตนเอง
เป็นการนำความคิดไปปฏิบัติผ่านกระบวนการที่
เป็นวงจร ซึ่งแต่ละวงจะขึ้นกับวงก่อนหน้า การวิจัยเชิง
ปฏิบัติการไม่ใช่วิธีการวิจัยบริสุทธิ์
แต่เป็นส่วนหนึ่งของการพัฒนา และนักวิจัยสามารถใช้วิธีการเก็บและ
รวบรวมข้อมูลได้หลากหลายวิธีการวิจัยเชิงปฏิบัติการเป็นทั้งการวิจัยและการปฏิบัติการ
ผศ.ดร.เพ็ญแข แสงแก้ว(2541;74) กล่าวว่าคำนิยามเชิงปฏิบัติการ
คือข้อความที่กำหนดวิธีการต่างๆที่สามารถนำไปปฏิบัติหรือวัดค่าของตัวแปรนั้นออกมาได้
โดยการระบุกิจกรรหรือการดำเนินงานที่จำเป็นต่อการวัดตัวแปร
ซึ่งเปรียบเสมือนคู่มือของผู้วิจัยในการวัดค่าตัวแปรนั้น
สรุป
คำนิยามเชิงปฏิบัติที่จะใช้ในการวิจัย ไว้ว่า ในการวิจัย อาจมี
ตัวแปร (variables) หรือคำ (terms) ศัพท์เฉพาะต่าง ๆ ที่จำเป็นต้องให้คำจำกัดความอย่างชัดเจน
ในรูปที่สามารถสังเกต (observation) หรือวัด (measurement) ได้ ไม่เช่นนั้นแล้ว อาจมีการแปลความหมายไปได้หลายทาง ตัวอย่างเช่น คำว่า
คุณภาพชีวิต, ตัวแปรที่เกี่ยวกับความรู้ ทัศนคติ , ความพึงพอใจ, ความปวด
เป็นต้นเป็นข้อความที่กำหนดวิธีการต่างๆที่สามารถนำไปปฏิบัติหรือวัดค่าของตัวแปรนั้นออกมาได้
โดยการระบุกิจกรรหรือการดำเนินงานที่จำเป็นต่อการวัดตัวแปร
ซึ่งเปรียบเสมือนคู่มือของผู้วิจัยในการวัดค่าตัวแปรนั้น
อ้างอิง
http://blog.eduzones.com/jipatar/85921
เข้าถึงข้อมูลเมื่อวันที่ 25 พฤศจิกายน 2555
http://www.nurse.ubu.ac.th/sub/knowledgedetail/Actionresearch.pdf
เข้าถึงข้อมูลเมื่อวันที่ 25 พฤศจิกายน 2555
เพ็ญแข
แสงแก้ว. (2541). การวิจัยทางสังคมศาสตร์:มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น