http://blog.eduzones.com/jipatar/85921 ได้รวบรวมและกล่าวถึงสมมติฐานของการวิจัยไว้ว่า การตั้งสมมติฐาน เป็นการคาดคะเนหรือการทายคำตอบอย่างมีเหตุผล มักเขียนในลักษณะ การแสดงความสัมพันธ์ ระหว่างตัวแปรอิสระหรือตัวแปรต้น(independent variables) และตัวแปรตาม (dependent variable) เช่น การติดเฮโรอีนชนิดฉีด เป็นปัจจัยเสี่ยงของโรคเอดส์ สมมติฐานทำหน้าที่เสมือนเป็นทิศทาง และแนวทาง ในการวิจัย จะช่วยเสนอแนะ แนวทางในการ เก็บรวบรวมข้อมูล และการวิเคราะห์ข้อมูลต่อไป สมมติฐานต้องตอบวัตถูประสงค์ของการวิจัยได้ครบถ้วนและทดสอบและวัดได้
http://www.oknation.net/blog/manrit/2007/09/24/entry-1 ได้รวบรวมและกล่าวถึงสมมติฐานของการวิจัยไว้ว่า สมมุติฐาน คือ
คำตอบที่ผู้วิจัยคาดคะเนไว้ล่วงหน้าอย่างมีเหตุผล เพื่อตอบความมุ่งหมาย
(วัตถุประสงค์) ของการวิจัยที่ตั้งไว้
สมมุติฐานการวิจัย มี
๒ ชนิด
ก. แบบมีทิศทาง
ถ้าเป็นการวิจัยเปรียบเทียบ
จะมีคำว่า "มากว่า", "น้อยกว่า",
"สูงกว่า", "ต่ำกว่า"
อยู่ในสมมุติฐานนั้น
ถ้าเป็นการวิจัยแบบหาความสัมพันธ์
จะมีคำว่า "สัมพันธ์กันทางบวก", "สัมพันธ์กันทางลบ"
ข. แบบไม่มีทิศทาง
ถ้าเป็นการวิจัยเปรียบเทียบ
จะมีคำว่า "แตกต่างกัน" อยู่ในสมมุติฐานนั้น
ถ้าเป็นการวิจัยแบบหาความสัมพันธ์
จะมีคำว่า "สัมพันธ์กัน"
ลักษณะของงานวิจัยที่ต้องตั้งสมมุติฐาน มี ๓ ลักษณะ คือ
ก. แบบเปรียบเทียบ
ข. แบบหาความสัมพันธ์
ค. แบบทดลอง
http://www.stks.or.th/blog/?p=2385 ได้รวบรวมและกล่าวถึงสมมติฐานของการวิจัยไว้ว่า
สมมติฐาน คือความคาดหวังเกี่ยวกับเหตุการณ์ที่ได้จากการสรุปเป็นการทั่วไป
ที่หวังว่าตัวแปร 2 ตัวหรือหลายตัวจะมีความสัมพันธ์กันอย่างใดอย่างหนึ่ง
สมมติฐานที่ดีจะต้องประกอบด้วยเกณฑ์สองอย่าง คือ
ประการแรก สมมติฐานต้องเป็นข้อความแสดงถึงความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปร
ประการที่สอง สมมติฐานจะต้องชัดเจน
และสามารถทดสอบความสัมพันธ์ดังกล่าวได้
หากข้อความขาดคุณสมบัติดังกล่าวก็จะไม่ใช่สมมติฐาน
สรุป
การตั้งสมมติฐาน เป็นการคาดคะเนหรือการทายคำตอบอย่างมีเหตุผล
มักเขียนในลักษณะ การแสดงความสัมพันธ์ ระหว่างตัวแปรอิสระหรือตัวแปรต้น(independent
variables) และตัวแปรตาม
(dependent variable) เช่น การติดเฮโรอีนชนิดฉีด เป็นปัจจัยเสี่ยงของโรคเอดส์
สมมติฐานทำหน้าที่เสมือนเป็นทิศทาง และแนวทาง ในการวิจัย จะช่วยเสนอแนะ
แนวทางในการ เก็บรวบรวมข้อมูล และการวิเคราะห์ข้อมูลต่อไป สมมติฐานต้องตอบวัตถูประสงค์ของการวิจัยได้ครบถ้วนและทดสอบและวัดได้
สมมุติฐานการวิจัย มี ๒ ชนิด
ก. แบบมีทิศทาง
ถ้าเป็นการวิจัยเปรียบเทียบ
จะมีคำว่า "มากว่า", "น้อยกว่า",
"สูงกว่า", "ต่ำกว่า"
อยู่ในสมมุติฐานนั้น
ถ้าเป็นการวิจัยแบบหาความสัมพันธ์
จะมีคำว่า "สัมพันธ์กันทางบวก", "สัมพันธ์กันทางลบ"
ข. แบบไม่มีทิศทาง
ถ้าเป็นการวิจัยเปรียบเทียบ
จะมีคำว่า "แตกต่างกัน" อยู่ในสมมุติฐานนั้น
ถ้าเป็นการวิจัยแบบหาความสัมพันธ์
จะมีคำว่า "สัมพันธ์กัน"
ลักษณะของงานวิจัยที่ต้องตั้งสมมุติฐาน มี ๓ ลักษณะ คือ
ก. แบบเปรียบเทียบ
ข. แบบหาความสัมพันธ์
ค. แบบทดลอง
อ้างอิง
http://blog.eduzones.com/jipatar/85921
เข้าถึงข้อมูลเมื่อวันที่ 15 พฤศจิกายน 2555
http://www.stks.or.th/blog/?p=2385
เข้าถึงข้อมูลเมื่อวันที่ 15 พฤศจิกายน 2555
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น