ณัชชากัญญ์ วิรัตนชัยวรรณ (http://www.learners.in.th/blog/natchakan/386486) ได้รวบรวมและกล่าวถึงทฤษฎีนี้ไว้ว่า
นักคิดกลุ่มนี้มีความเชื่อว่า
การเรียนรู้เกิดจากแรงกระตุ้นภายนอกหรือสิ่งแวดล้อม(neutral -
passive) การเรียนรู้เกิดจากการที่บุคคลได้รับประสบการณ์ผ่านทางประสาทสัมผัสทั้ง
5 (sensation) และความรู้สึก(feeling)
คือ การตีความหรือแปลความหมายจากการสัมผัส
http://dontong52.blogspot.com
ได้รวบรวมและกล่าวถึงทฤษฎีนี้ไว้ว่า
จอห์น ล็อค เชื่อว่า
การเรียนรู้เกิดจากบุคคลได้รับประสบการณ์ผ่านทางประสาทสัมผัสทั้ง 5
วิลแฮม วุนด์ เชื่อว่า จิตมีองค์ประกอบ 2 ส่วน คือ การสัมผัสทั้ง 5 การรู้สึกและจินตนาการ
ทิชเชเนอร์ เชื่อว่า จิตมีองค์ประกอบ 3 ส่วน คือ การสัมผัสทั้ง 5 การรู้สึก และจินตนาการ
แฮร์บาร์ต เชื่อว่า การเรียนรู้มี 3 ระดับ คือ ขั้นการเรียนรู้โดยประสาทสัมผัส ขั้นจำ ความคิดเดิม
และขั้นการเกิดความคิดรวบยอดและความเข้าใจ
www.oknation.net/blog/print.php?id=294321/
ได้รวบรวมและกล่าวถึงทฤษฎีนี้ว่า นักคิดกลุ่มนี้มีความเชื่อว่า
การเรียนรู้เกิดจากแรงกระตุ้นภายนอกหรือสิ่งแวดล้อม(neutral -
passive) การเรียนรู้เกิดจากการที่บุคคลได้รับประสบการณ์ผ่านทางประสาทสัมผัสทั้ง
5 (sensation) และความรู้สึก(feeling)
คือ
การตีความหรือแปลความหมายจากการสัมผัสการจัดการเรียนการสอนตามทฤษฏีนี้จึงเน้นให้ผู้เรียนได้รับประสบการณ์ผ่านทางประสาทสัมผัสทั้ง
5
และสร้างความสัมพันธ์ระหว่างความรู้เดิมกับความรู้ใหม่ซึ่งจะช่วยให้ผู้เรียนเกิดความเข้าใจได้เป็นอย่างดี
สรุป
ทฤษฎีการเรียนรู้ที่เน้นการรับรู้และการเชื่อมโยงความคิด
เป็นทฤษฎีของการเรียนรู้ที่เกิดจากแรงกระตุ้นภายนอกหรือสิ่งแวดล้อม โดยได้รับประสบการณ์ตรงผ่านทางประสาทสัมผัสทั้ง
5 และความรู้สึก
เอกสารอ้างอิง
ณัชชากัญญ์ วิรัตนชัยวรรณ.[ออนไลน์] ชื่อเว็บไซต์: http://www.learners.in.th/blog/natchakan/386486 เข้าถึงข้อมูลเมื่อวันที่ 27 มิถุนายน 2555
ทฤษฎีการเรียนรู้ที่เน้นการรับรู้และการเชื่อมโยงความคิด
.[ออนไลน์] ชื่อเว็บไซต์ http://dontong52.blogspot.com เข้าถึงข้อมูลเมื่อวันที่ 27 มิถุนายน 2555
ทฤษฎีการเรียนรู้ที่เน้นการรับรู้และการเชื่อมโยงความคิด.[ออนไลน์] ชื่อเว็บไซต์ www.oknation.net/blog/print.php?id=294321/ เข้าถึงข้อมูลเมื่อวันที่ 27 มิถุนายน
2555
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น